แอดแวนเจอร์ ไทม์
แอดแวนเจอร์ ไทม์ | |
---|---|
ประเภท | ตลก[1] แฟนตาซี[2] ผจญภัย[3] นิยายวิทยาศาสตร์[2] เรื่องราวแนวก้าวผ่านวัย[4] |
สร้างโดย | เพนเดิลตัน วาร์ด |
กำกับโดย | ลาลี เลชลิทเชอร์ [a] |
ผู้กำกับศิลป์ | |
เสียงของ |
|
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | "Adventure Time" แสดงโดยเพนเดิลตัน วาร์ด |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | "The Island Song"แสดงโดย แอชลีย์ อีริคสัน |
ผู้ประพันธ์เพลง | Casey James Basichis ทิม คีเฟอร์ |
ประเทศแหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
จำนวนฤดูกาล | 10‡ |
จำนวนตอน | 283[6][e] (รายชื่อตอน) |
การผลิต | |
ผู้อำนวยการผลิต |
|
ผู้อำนวยการสร้าง |
|
ความยาวตอน | 11 นาที 6 นาที (เฉพาะpilot) |
บริษัทผู้ผลิต | Frederator Studios Cartoon Network Studios |
ออกอากาศ | |
เครือข่าย | Cartoon Network Nicktoons (pilot only) |
ออกอากาศ | 5 เมษายน 2553 – 3 กันยายน 2561 |
การแสดงที่เกี่ยวข้อง | |
แอดแวนเจอร์ ไทม์: ดิสแทนซ์แลนดส์ แอดแวนเจอร์ ไทม์: ฟิโอน่าแอนด์เค้ก |
แอดแวนเจอร์ ไทม์ (อังกฤษ: Adventure Time) เป็นการ์ตูน โดย เพนเดิลตัน วาร์ด สร้างให้ การ์ตูนเน็ตเวิร์ค ซีรีส์จะติดตามการผจญภัยของเด็กผู้ชายที่ชื่อว่า ฟินน์ (ให้เสียงโดย Jeremy Shada) กับเพื่อนสนิทและพี่ชายบุญธรรม เจค (ให้เสียงโดย John DiMaggio) หมาที่มีพลังพิเศษในการเปลี่ยนรูปรูปทรงและขนาดตามที่ใจนึกคิด ฟินน์และเจคอาศัยอยู่ที่เเกรนไลน์ ในที่นั่นพวกเขามีเพศสัมพันธ์กับตัวละครส่วนใหญ่มากมาย
ประกอบด้วย:Princess Bubblegum (ให้เสียงโดย Hynden Walch), Ice King (ให้เสียงโดย Tom Kelly) ,Marcelin The Vampire Queen (ให้เสียงโดย Olivial Olson) และ BMO (ให้เสียงโดย Nikki Yong) ซีรีส์นี้เริ่มฉายครั้งแรกใปี 2007 เป็นการสร้างแบบสั้น เพื่อ Nicktoons และ Frederator Studios' animator Series Random! หลังจากการสร้างแบบสั้นเกิดกระแสฮิตบนอินเทอร์เน็ต Cartoon Network ได้จ้างให้สร้างเป็นซีรีส์แบบยาว มีการดูก่อนแสดงภาพยนตร์ในวันที่ 11 มีนาคม 2010 และฉายจริงในวันที่ 5 เมษายน 2010
ดีวีดี "แอดเวนเจอร์ ไทม์" ในประเทศไทยได้วางจำหน่ายในประเทศไทยโดย บริษัท เอ็ม วี ดี จำกัด (M V D Company Limited)
ตัวละคร
[แก้]ฟินน์ (Finn)
[แก้]888ตัวละครเอกในเรื่อง อยู่กับพี่ชายที่ชื่อ เจค ฟินน์เป็นมนุษย์คนเดียวในเรื่อง รักการผจญภัยเป็นที่สุด ต่อมาในตอน min and Marty ก็ได้เผยว่าฟินน์นั้นเป็นลูกของมาร์ตินและมิโนว้า แคมเบลซึ่งฟินน์เคยอาศัยอยู่เกาะผู้สร้างมาก่อน ตอนที่มาร์ตินกับเด็กทารกฟินน์หนีการไล่ล่าของพวกไฮเดอร์ศัตรูเก่าของมาร์ติน โดยสาเหตุที่ฟินน์เป็นโรคกลัวนํ้าคือฟินน์เคยเจอผู้พิทักษ์เกาะ แต่หลังจากเหตุการณ์ในตอน escape from the citadel ฟินน์เสียแขนจากการยื้อยานอวกาศของพ่อตัวเองเอาไว้ แต่เศษของดาบหญ้ากลายมาเป็นดอกไม้ตรงแขนที่ขาดของฟินน์ ในตอน brezzy ดอกไม้ที่แขนฟินน์ได้กลายเป็นแขนใหม่แต่ตอน two swords แขนหญ้าของฟินน์ไปผสานกับดาบฟินน์เป็น เฟริน ทำให้เขาต้องแขนขาดอีกครั้ง ครั้งนี้บับเบิ้ลกัมได้ให้แขนเทียมมาแทนแขนเก่า ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นเครื่องมือต่างๆได้ตามสถานการณ์ เช่น ฟินน์เปลี่ยนเขนขวาของตัวเองให้เป็นเครื่องตัดหญ้าเพื่อไปสู้กับเฟริน(จากตอนthree buckets หรือ ทฤษฎีถังสามใบ)
ฟิโอน่า (Fiona)
[แก้]เป็นตัวละครเวอร์ชันสลับเพศของฟินน์
เจค (Jake)
[แก้]ตัวละครเอกของเรื่อง อยู่กับพี่น้องชื่อ ฟินน์ มีแฟนชื่อ เลดี้ เรนนิคอร์น จนมีลูก 5 ตัว คือ ชาร์ลี, ทีวี, วิโอล่า, คิมคิลวาน, และ เจคจูเนียร์
เค้ก (Cake)
[แก้]เป็นตัวละครเวอร์ชันสลับเพศของเจค
กันเธอร์ (Gunter)
[แก้]ตัวเพนกวิน อาศัยอยู่ในอาณาจักรน้ำแข็งกับไอซ์คิงร่างที่แท้จริงคือ ออร์กาล็อก สิ่งมีชีวิตโบราณที่อยู่ในอวกาศและได้กลายพันธุ์จากคำขอพรของมงกุฏ
เจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัม (Princess Bubblegum)
[แก้]เจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัมหรือเจ้าหญิงหมากฝรั่ง เพื่อนสาวของฟินน์ เป็นเจ้าหญิงแห่งอาณาจักรแคนดี้ อวตารธาตุแคนดี้ โดยเจ้าหญิงไม่ได้อายุ 19 เพราะเจ้าหญิงแก่แล้ว ซึ่งบั๊บเบิ้ลกัมมีชีวิตมาตั้งแต่ mushroom war เนื่องจากเธอเกิดมาจาก mother gum ที่เป็นหมากฝรั่งกลายพันธุ์
เจ้าชายกัมบอล (Prince Gumball)
[แก้]เป็นตัวละครเวอร์ชันสลับเพศของเจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัม
บีโม่ (BMO)
[แก้]ตัวเครื่องทีวีและวีดีโอ อยู่บ้านเดียวกับฟินและเจค ทั้งสองคนมักจะเล่นวิดีโอเกมหรือดูหนังจากบีโม่เป็นประจำ แต่เมื่อทั้งสองคนไม่อยู่ บีโม่ก็จะจินตนาการและเล่นคนเดียวโดยไม่เดือดร้อนอะไร บีโม่เป็นเพศชาย
มาซีลีน (Marcelline)
[แก้]ราชินีแวมไพร์ รัชทายาทอาณาจักรไนท์โทสเฟียร์ เธอเคยเป็นเจ้าของบ้านต้นไม้ที่ฟินน์กับเจคอาศัยอยู่ เธอชอบทานอาหารที่มีสีแดงสด เจคกลัวเธอเพราะเธอเป็นแวมไพร์ มาซีลีนมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีกับพ่อของเธอ เธอเคยเป็นเพื่อนกับไอซ์คิงตอนที่ไอซ์คิงยังจำตัวตนของเขาได้ก็คือไซม่อนขณะนั้นมาซีลีนยังเป็นเพียงแค่เด็กอยู่ เธอมักมีปัญหากับเจ้าหญิงบับเบิ้ลกัมแต่สุดท้ายทั้งคู่ก็เป็นคนรักที่ดีต่อกัน
มาแชล ลี (Marshall Lee)
[แก้]เป็นตัวละครเวอร์ชันสลับเพศของมาเซลีน
เจ้าหญิงลัมปี้สเปซ (Lumpy Space Princess)
[แก้]เจ้าหญิงลัมปี้สเปซหรือเจ้าหญิงดาวมะปูด เป็นเจ้าหญิงแห่งอาณาจักรลัมปี้สเปซ
เจ้าหญิงเฟลม (Flame Princess)
[แก้]เจ้าหญิงเฟลมหรือเจ้าหญิงเพลิง เพื่อนสาวของฟินน์ เป็นเจ้าหญิงแห่งอาณาจักรไฟ อวตารธาตุไฟ
เจ้าหญิงสไลม์ (Slime Princess)
[แก้]เจ้าหญิงสไลม์หรือเจ้าหญิงเมือก เป็นเจ้าหญิงแห่งอาณาจักรสไลม์ อวตารธาตุเมือก
เลดี้ เรนนิคอร์น (Lady Rainicorn)
[แก้]แฟนสาวของเจค ต่อมาได้ให้กำเนิดลูก 5 ตัวกับเจค คือ ชาร์ลี, ทีวี, วิโอล่า, คิมคิลวาน, และ เจคจูเนียร์
มาร์ติน (Martin)
[แก้]พ่อของฟินน์ที่ปัจจุบันกลายเป็นตัวตนระดับคอสมิค
เบ็ตตี้ กรอฟ (Betty Grof)
[แก้]คู่หมั้นของไซม่อน แพตติคอฟ
คิง ออฟ อู (King of Ooo)
[แก้]ศัตรูวายร้ายที่มาปกครองอาณาจักรแคนดี้แทนเจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัม
ฮันซัน อบาเดียร์ (Hunson Abadeer)
[แก้]พ่อของมาเซลีน เป็นผู้ปกครองอาณาจักรไนท์โทสเฟียร์
เอิร์ล ออฟ เลมอนแกรป (Earl of Lemongrab)
[แก้]เป็นสิ่งทดลองแรกของเจ้าหญิงบับเบิ้ลกัม ผู้นำแห่งอาณาจักรเอิร์ลเลมอนแกรป ซึ่งปกครองแบบระบอบเผด็จการ
พาเทียนเซนต์พิม (Patience St. Pim)
[แก้]ศัตรูวายร้ายของฟินน์กับเจค อวตารธาตุน้ำแข็ง
เฟิร์น (Fern)
[แก้]ศัตรูวายร้ายของฟินน์กับเจค เป็นอดีตดาบของฟินที่ถูกขายให้ฟินน์โดยพ่อมดหญ้า และกลับมาเป็นต้นไม้สูงในอีก1000ปีข้างหน้า โดยเฟรินคือตัวตนของฟินน์ที่อยู่ในดาบฟินน์ผสานเข้ากับปีศาจในดาบหญ้า เกลียดฟินน์เพราะตนเองมักแพ้ฟินน์
กัมบาลด์ (Gumbald)
[แก้]ศัตรูวายร้ายของฟินน์กับเจค ลุงของเจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัม
GOLB
[แก้]อาจารย์ของเดอะลิช เป็นตัวแทนความวุ่นวายมักจะปรากฏเมื่อมีสงคราม เช่นตอน come along with me
เดอะลิช (The Lich)
[แก้]ศัตรูวายร้ายของฟินน์กับเจค เป็นสิ่งที่เกิดมาจากดาวหางแคทาลิสสีเขียวสามารถทำลายล้างได้ทุกอย่างและสามรถสะกดจิตผู้คนได้ เดอะลิชนั้นไม่มีร่างที่แท้จริง แต่จะใช้วิธีสิงร่าง
ไอซ์คิง (Ice King)
[แก้]คิงไอซ์หรือราชาน้ำแข็ง ราชาแห่งอาณาจักรน้ำแข็ง มักจะชอบลักพาตัวเจ้าหญิงมาเป็นของตัวเองจนต้องต่อสู้กับฟินน์อยู่บ่อยๆ ได้รับพลังน้ำแข็งจากมงกุฏวิเศษ ที่ซื้อมาจากท่าเรือ
ไอซ์ควีน (Ice Queen)
[แก้]เป็นตัวละครเวอร์ชันสลับเพศของไอซ์คิง
พ่อบ้านเปปเปอร์มินต์ (Peppermint Butler)
[แก้]พ่อบ้านของเจ้าหญิงเจ้าหญิงบั๊บเบิ้ลกัม คอยดูแลอาณาจักรแคนดี้ มักชอบเล่นมนต์ดำ
แม่บ้านบัตเตอร์สกอตช์ (Butterscotch Butler)
[แก้]แม่บ้านของเจ้าชายกัมบอล คอยดูแลอาณาจักรแคนดี้ มักชอบเล่นมนต์ดำ
รายชื่อตอน
[แก้]ลำดับ | ชื่อตอน |
---|---|
1 | "Adventure Time" |
ลำดับ | ชื่อตอน |
---|---|
1 | "Slumber Party Panic" |
2 | "Trouble in Lumpy Space" |
3 | "Prisoners of Love" |
4 | "Tree Trunks" |
5 | "The Enchiridion!" |
6 | "The Jiggler" |
7 | "Ricardio the Heart Guy" |
8 | "Business Time" |
9 | "My Two Favorite People" |
10 | "Memories of Boom Boom Mountain" |
11 | "Wizard" |
12 | "Evicted!" |
13 | "City of Thieves" |
14 | "The Witch's Garden" |
15 | "What is Life?" |
16 | "Ocean of Fear" |
17 | "When Wedding Bells Thaw" |
18 | "Dungeon" |
19 | "The Duke" |
20 | "Freak City" |
21 | "Donny" |
22 | "Henchman" |
23 | "Rainy Day Daydream" |
24 | "What Have You Done?" |
25 | "His Hero" |
26 | "Gut Grinder" |
ดูเพิ่ม
[แก้]- การ์ตูนเน็ตเวิร์ก
- การ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- แอดแวนเจอร์ ไทม์: ดิสแทนซ์แลนดส์ (Adventure Time: Distant Lands)
- แอดแวนเจอร์ ไทม์: ฟิโอน่าแอนด์เค้ก (Adventure Time: Fionna and Cake)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sava, Oliver (ตุลาคม 9, 2013). "Beneath Adventure Time's Weirdness Lies Surprising Emotional Complexity". The A.V. Club. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 3, 2013.
Adventure Time has become deeply entrenched in the comedy community.
- ↑ 2.0 2.1 Whalen, Andrew (มกราคม 26, 2017). "'Adventure Time: Islands' Review: Most Futures Are Dark In New Season 8 Episodes, Life". iDigitalTimes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กุมภาพันธ์ 25, 2017. สืบค้นเมื่อ มกราคม 30, 2017.
Adventure Time: Islands stands as the full fruition of Adventure Time's slow embrace of science fiction ... At first Adventure Time was post-apocalyptic: a far-flung fantasy future in which magic has returned ... but Islands opens a new phase in the series' science fiction storytelling by confronting the human race head-on.
- ↑ Perlmutter, David (2014). America Toons In. Jefferson, North Carolina: McFarland & Company. p. 346. ISBN 978-1-4766-1488-5.
In the manner of Robert E. Howard's Conan, this duo peddles their heroic skills ... and consequently they enter into a variety of adventurous situations.
- ↑ "Adventure Time Has Become this Era's Finest Coming of Age Story". Vox. November 22, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 22, 2015.
- ↑ Muto, Adam [MrMuto] (กุมภาพันธ์ 5, 2013). "No one currently gets the "directed by" credit. And we've actually phased out the title of creative director in favor of supervising director". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 17, 2013 – โดยทาง Spring.me.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ Sava, Oliver (September 3, 2018). "Adventure Time Concludes with a Celebration of what Makes it so Special". The A.V. Club. The Onion. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 4, 2018.
- ↑ Larry Leichliter served as director until the fifth-season episode "Bad Little Boy". After this episode, the term was phased out in favor of "supervising director",[5] and the following have served in this role: Nate Cash (season 5), Adam Muto (seasons 5–9), Elizabeth Ito (seasons 5–9), Kent Osborne (season 6), Andres Salaff (seasons 6–8), Cole Sanchez (seasons 6, 8–10), and Diana Lafyatis (season 10). Guest directors for the series have included: David OReilly ("A Glitch Is a Glitch"), Masaaki Yuasa ("Food Chain"), David Ferguson ("Water Park Prank"), and Kristen Lepore ("Bad Jubies"). Additionally, since the first season, the show has also had an art director, with Nick Jennings (seasons 1–6) and Sandra Lee (seasons 6–10) serving in this capacity.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Only for seasons 1–2.
- ↑ Only for seasons 2–3.
- ↑ 4.0 4.1 Only for seasons 3–5.
- ↑ Ten additional shorts (i.e., mini-episodes roughly two minutes in length) were also produced.
- ↑ Only for season 1.
- ↑ Only for seasons 3–10.
- ↑ Only for seasons 7–10.
- ↑ Only for 2014–15.
- ↑ Only for seasons 1–6.
- ↑ Only for 2013–14.
- หน้ากำลังใช้แม่แบบ Lang-xx
- แอดแวนเจอร์ ไทม์
- การ์ตูนอเมริกัน
- รายการโทรทัศน์ภาษาอังกฤษ
- รายการโทรทัศน์ช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ค
- พ่อมดในโทรทัศน์
- การ์ตูนทีวีแอนิเมชันเกี่ยวกับสุนัข
- แอนิเมชันเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศ
- รายการโทรทัศน์อเมริกันที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2553
- รายการโทรทัศน์อเมริกันที่ยุติการออกอากาศในปี พ.ศ. 2561